หน้าหลัก

NEWS HIGHLIGHT

การก่อสร้างทางรถไฟความเร็วสูง ประชิดชายแดนเวียดนามเส้นที่ 2 ของเขตฯ กว่างซีจ้วง เส้นทาง "นครหนานหนิง - เมืองระดับอำเภอผิงเสียง" มีความคืบหน้ามากพอสมควร คาดว่าจะใช้งานได้ภายในปี 2568

NEWS UPDATE

ข่าวล่าสุด

รถไฟขนสินค้าจีน-เวียดนามคึกคัก เพิ่มโอกาสนำเข้า-ส่งออกสินค้าระหว่างประเทศ

ภาคธุรกิจไทยสามารถศึกษาโอกาสและความเป็นไปได้ในการใช้ประโยชน์จากเส้นทางรถไฟขนส่งสินค้าจีน-เวียดนาม และ “ท่าสถานีรถไฟระหว่างประเทศหนานหนิง” ในการขยายตลาดสินค้านำเข้า-ส่งออกกับประเทศจีน รวมถึงการใช้ประโยชน์จากโครงข่ายรถไฟจีน-ยุโรป (China-Europe Express Railway) ในการกระจายสินค้าไปยังประเทศในเอเชียกลาง และยุโรปได้

ความสำเร็จของมณฑลซานตงกับบทบาทผู้นำด้านการการส่งออกสินค้าเกษตรของจีน

ด้วยรากฐานทางการเกษตรที่แข็งแกร่งและข้อได้เปรียบที่โดดเด่นหลายประการของมณฑลซานตง ทำให้ห่วงโซ่อุตสาหกรรมการเกษตรของมณฑลซานตงเป็นห่วงโซ่อุตสาหกรรมที่มีความสมบูรณ์ พื้นที่การเกษตรหลายแห่งในมณฑลฯ เป็นฐานการผลิตและส่งออกสินค้าเกษตรที่สำคัญของจีน

มาแล้ว! รถไฟความเร็วสูงฉางก้านเชื่อมหูหนาน เจียงซี และฝูเจี้ยน

เมื่อต้นเดือนมีนาคม 2567 กรมการขนส่งมณฑลเจียงซีประกาศจะเริ่มดำเนินการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงฉางก้านอย่างเป็นทางการ โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันทางโลจิสติกส์ของมณฑลเจียงซี เชื่อมโยงฐานการผลิตและห่วงโซ่อุปทานทั้งในและนอกมณฑล และเป็นแรงขับเคลื่อนการเชื่อมโยงเติบโตทางเศรษฐกิจของมณฑลหูหนาน มณฑลเจียงซี และมณฑลฝูเจี้ยน รถไฟความเร็วสูงฉางก้านจะเชื่อมโยงจากนครฉางซาในมณฑลหูหนานกับเมืองก้านโจวในมณฑลเจียงซี ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางรถไฟความเร็วสูงสายนครฉงชิ่ง-เมืองเซี่ยเหมิน...

เจียงซีส่งเสริมการสร้าง “หมู่บ้านโซลาร์เซลล์” ช่วยแก้ไขปัญหาความยากจนในเขตชนบท

มณฑลเจียงซีเป็นหนึ่งในมณฑลตอนในของจีนที่มีความโดดเด่นด้านทรัพยากรทางธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ รวมถึงแร่ธาตุต่าง ๆ มากมาย และวัตถุดิบในการผลิตพลังงานทดแทน อาทิ แบตเตอรี่ลิเธียม ยานยนต์ไฟฟ้า และโซลาร์เซลล์ ทำให้อุตสาหกรรมพลังงานใหม่และเทคโนโลยีขั้นสูงในมณฑลเจียงซีได้พัฒนาอย่างรวดเร็ว...

มณฑลฝูเจี้ยนออกแผนปฏิบัติการส่งเสริมการส่งออกอุตสาหกรรมที่โดดเด่น (ปี 2567 – 2568)

เมื่อต้นเดือนมีนาคม 2567 คณะกรรมการพัฒนาและปฏิรูปมณฑลฝูเจี้ยน ประกาศแผนปฏิบัติการส่งเสริมการส่งออกอุตสาหกรรมโดดเด่น (ปี 2567 - 2568) เพื่อขยายการส่งออกผลิตภัณฑ์จากอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพโดดเด่นให้มีมูลค่าสูงกว่า 2.8...

เซี่ยเหมินประกาศรายชื่อโครงการสำคัญในปี 2567 จำนวน 540 โครงการ ด้วยเงินลงทุน 1.1 ล้านล้านหยวน

รัฐบาลเซี่ยเหมินประกาศรายชื่อโครงการสำคัญประจำปี 2567 รวมทั้งหมด 540 โครงการ ด้วยเงินลงทุน 1.1 ล้านล้านหยวน และตั้งเป้าหมายมูลค่าการลงทุนประจำปี 2567...

ARTICLE HIGHLIGHT

จะทำการตลาดยังไงให้กลุ่ม Silver Gen จีนได้รู้จัก มั่นใจ และเลือกเมืองไทยเป็นจุดหมาย เมื่อนึกถึงการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและการท่องเที่ยวเชิงแพทย์? ร่วมค้นหาคำตอบกันต่อในบทความนี้ครับ/ค่ะ

ARTICLE UPDATE

บทความล่าสุด

เข้าใจ “สังคมสูงวัย” จีน สู่การคว้าโอกาสธุรกิจสำหรับผู้ประกอบการไทย (ตอนที่ 1/2)

หากมองในแง่เศรษฐศาสตร์ ประชากรผู้สูงอายุในจีนเป็นที่น่าจับตามอง เพราะด้วยจำนวนประชากรและกำลังซื้ออันมหาศาล Silver Economy จะเป็นโอกาสและความท้าทายใหม่ต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจในอนาคต ในบทความฉบับนี้ บีไอซี จะขอนำเรื่องราวของสังคมสูงวัยจีนมาเล่าสู่กันฟัง และชวนคุณผู้อ่านคิดต่อถึง “โอกาสทอง” ของภาคธุรกิจไทยที่ซ่อนอยู่ใน “ตลาดผู้บริโภครุ่นใหญ่วัยมั่งคั่ง” ในจีน

รั้วรอบขอบสนาม : กว่างซีอัปไซซ์ด่านเดิม เพิ่มเติมด่านใหม่ รอรับผลไม้ไทย

เขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง เป็น "ประตูการค้า" บานใหญ่สำหรับการส่งออกผลไม้ไทยไปสู่ประเทศจีน ในบทความนี้ บีไอซี ชวนท่านผู้อ่านไปเกาะสนามอัปเดตความพร้อมของด่านสากล 2 แห่งในเมืองฉงจั่วอขงกว่างซี ไปดูกันว่า... ด่านเก่า ด่านใหม่ พร้อมแค่ไหน สำหรับฤดูกาลผลไม้ปีนี้

10 ปีเขตการค้าเสรีเซี่ยงไฮ้.. บทเรียนของไทยเพื่อต่อยอดความร่วมมือกับจีน

"เขตทดลองการค้าเสรีจีน (เซี่ยงไฮ้)” เป็นเขตทดลองการค้าเสรีแห่งแรกของจีน ซึ่งก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2556 นับเป็นต้นแบบ “การเปิดกว้าง” และ “ปฏิรูป” อีกครั้งของจีน โดยประสบการณ์และความสำเร็จช่วง 10 ปีที่ผ่านมามีบทบาทต่อการพัฒนาของจีน และสร้างโอกาสทางธุรกิจ การค้า การลงทุน และความท้าทายครั้งใหม่ให้กับประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก รวมถึงไทย

เปิดตลาด เยือนเมืองเจียงเหมิน ส่องพัฒนาการฮับโลจิสติกส์ตะวันตกของมณฑลกวางตุ้ง

เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2567 ศูนย์ข้อมูลเพื่อธุรกิจไทยในจีนได้มีโอกาสร่วมติดตามการเยือนเมืองเจียงเหมินของสถานกงสุลใหญ่ ณ นครกว่างโจว ซึ่งการเยือนในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามพัฒนาการภายใต้กรอบแผนพัฒนาเขต GBA และแผนพัฒนากลุ่มเมือง 5 กลุ่มของมณฑลกวางตุ้ง โดยได้เยือนศูนย์โลจิสติกส์จูซี (Zhuxi Logistics Center) เขตความร่วมมือวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมนานาชาติ จีน - ยุโรป (Sino-Europe (Jiangmen) SME International Cooperation Zone) รวมถึงเยือนบริษัท Guangdong IVL PET Polymer จำกัด ซึ่งเป็นวิสาหกิจไทยในพื้นที่ ซึ่งในบทความนี้ศูนย์ BIC จะพาผู้อ่านไปทำความรู้จักกับ ‘เมืองเจียงเหมิน’ ให้มากและลึกยิ่งขึ้น

ส่องอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ของมณฑลฝูเจี้ยนและโอกาสของไทยในการพัฒนาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์อย่างยั่งยืน

ปัจจุบัน อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ในจีนกำลังเติบโตอย่างต่อเนื่อง ซึ่งกลายเป็นภาคส่วนสำคัญของเศรษฐกิจ รัฐบาลจีนเล็งเห็นถึงจุดแข็งของตนเอง นั่นคือ “การผสมผสานของวัฒนธรรมที่หลากหลายและโดดเด่น” โดยประธานาธิบดีสี จิ้นผิงได้เน้นย้ำถึงความสำคัญของภาคการผลิตเชิงสร้างสรรค์ โดยมองว่าเป็นแรงขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจของเมืองใหญ่ต่าง ๆ...

เศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 1 ของจีน ติดต่อกันยาวนาน 35 ปี

มณฑลกวางตุ้งขับเคลื่อนเศรษฐกิจจีน และครองตำแหน่ง ‘มณฑลที่มีขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดของจีน’ ติดต่อกันเป็นระยะเวลา 35 ปี ตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวม (GDP) เมื่อปี 2566 มีมูลค่าสูงถึง 13.57 ล้านล้านหยวน เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.8 เมื่อเทียบกับปี 2565 คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 10.8 ของมูลค่า GDP ทั้งหมดของจีน นับเป็นมณฑลแรกของจีนที่มี GDP ทะลุ 13 ล้านล้านหยวน สูงกว่า GDP ของอังกฤษ ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย อิตาลี และเกาหลีใต้[1]

VIDEO & INFOGRAPHIC

17 Apr 2024

ทำเนียบ 'เจ้าสัว' จีนแผ่นดินใหญ่ ประจำปี 2567 โดยนิตยสาร Forbes ระบุว่า จีนยังคงมีจำนวนมหาเศรษฐีจำนวนมากเป็นอันดับ 2 ของโลกด้วยจำนวน 406 คน (จาก 495 คนในปี 2566) รองจากสหรัฐอเมริกาเท่านั้น ซึ่งมีมหาเศรษฐี 813 คนในปีนี้

ข้อมูลรายมณฑล

มณฑลซานตง

มณฑลซานตงเป็นมณฑลชายฝั่งทะเลทางภาคตะวันออกของประเทศจีน จากภูมิประเทศที่เป็นคาบสมุทร ได้แยกอ่าวป่อไห่และทะเลเหลืองออกจากกัน มีพื้นที่ทั้งหมด 156,700 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 1.6 ของพื้นที่ทั้งประเทศ

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

ไต้หวัน

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

มณฑลเฮยหลงเจียง

เป็น 1 ใน 3 มณฑลที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และตั้งอยู่ตอนเหนือสุดของประเทศจีน ทิศเหนือและทิศตะวันออกติดประเทศรัสเซีย (แนวพรมแดนยาว 3,045 กิโลเมตร) เป็นประตูสู่ “ยูเรเซีย”

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

มณฑลจี๋หลิน

ชื่อของมณฑลจี๋หลินมีความหมายว่า "เมืองอันอุมดมสมบูรณ์ด้วยป่าไม้" ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศจีน ได้รับการสมญานามว่า “พื้นที่ดินดำ” มีทรัพยากรดินที่อุดมสมบูรณ์ด้วยแร่ธาตุ เหมาะสำหรับการเพาะปลูก

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

มณฑลเหลียวหนิง

มณฑลเหลียวหนิงมีชื่อย่อว่า "เหลียว" ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศจีน มีแหล่งทรัพยากรพลังงาน ได้แก่ ปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน และยูเรเนียม

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

นครเทียนจิน

นครเทียนจินตั้งอยู่บริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของที่ราบภาคเหนือของจีน เทียนจินห่างจากปักกิ่ง 120 กิโลเมตร ตั้งอยู่บริเวณสองฝั่งของแม่น้ำไห่เหอ ซึ่งเป็นแม่น้ำที่ใหญ่ที่สุดของประเทศจีนทางตอนเหนือ มีสาขากว่า 300 สายแต่ละสายมีความยาวกว่า 10 กิโลเมตร

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

กรุงปักกิ่ง

เป็นเมืองหลวงของประเทศจีน เป็นศูนย์กลางทั้งด้านการปกครอง เศรษฐกิจ การคมนาคม และวัฒนธรรมของประเทศ โดยมีพื้นที่ทั้งหมด 16,410.54 ตารางกิโลเมตร มีชนชาติฮั่นเป็นประชากรส่วนใหญ่ มีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 3,000 ปี

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

มณฑลเหอเป่ย

มณฑลเหอเป่ยตั้งอยู่ทางทิศเหนือของประเทศจีน ชื่อย่อคือ “จี้” ได้รับการขนานนามว่า “มณฑลที่อยู่เหนือแม่น้ำเหลือง”

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

มณฑลซานซี

มณฑลซานซีตั้งอยู่ทางทิศเหนือของประเทศจีน มีพื้นที่ทั้งหมด156,579 ตร.กม. คิดเป็น 1.6 % ของพื้นที่ทั้งหมด มีภูมิประเทศที่หลากหลาย ประกอบด้วยภูเขา เนินเขา ที่ราบสูง และที่ราบลุ่มโดยมีพื้นที่ที่เป็นภูเขามากกว่า 80 % ของพื้นที่ทั้งหมด

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

มณฑลเหอหนาน

มีที่ตั้งอยู่บริเวณตอนกลางส่วนล่างของแม่น้ำเหลือง เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่บริเวณแม่น้ำเหลืองตอนล่างจึงได้รับการขนานนามว่า "เหอหนาน" ซึ่งแปลเป็นภาษาจีนว่า "แม่น้ำทางตอนใต้" เป็นแหล่งทรัพยากรแร่ธาตุที่อุดมสมบูรณ์ที่สุดแห่งหนึ่งในโลก มีพื้นที่ทั้งหมด 167,000 ตารางกิโลเมตร

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

มณฑลเจียงซู

มณฑลเจียงซู ตั้งอยู่ทางชายฝั่งทะเลทางตะวันออกของจีน มีพื้นที่ทั้งหมด 102,600 ตารางกิโลเมตร มีขนาดเท่ากับร้อยละ 1.06 ของประเทศจีน ขึ้นชื่อว่าเป็นดินแดนแห่งข้าวและปลา หมายถึงเป็นดินแดนที่มีความอุดมสมบูรณ์ ทั้งยังมีชื่อเสียงในการผลิตน้ำมันพืช ฝ้าย ผ้าไหม และการประมง มณฑลเจียงซูมีพื้นที่แหล่งน้ำจืดมากเป็นอันดับหนึ่งของประเทศจีน

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

มณฑลอานฮุย

มณฑลอานฮุยตั้งอยู่บนพื้นที่เขตทิศตะวันออกของประเทศจีน มีพื้นที่รวมทั้งสิ้น 139,600 ตารางกิโลเมตร มีจำนวนประชากรประมาณ 69.020 ล้านคน โดยได้ชื่อว่าเป็นมณฑลที่มีความยากจนที่สุดในภาคตะวันออกของจีน ด้วยเหตุนี้จึงมีแรงงานไหลออกจากมณฑลอานฮุยไปทำงานที่มณฑลใกล้เคียง เช่น งานก่อสร้าง และงานที่ใช้แรงงานอื่นๆ เป็นต้น

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

นครเซี่ยงไฮ้

เซี่ยงไฮ้มีพื้นที่ประมาณ 6,340.5 ตร.กม. คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 0.06 ของพื้นที่ทั้งประเทศ ผลจากการที่ประเทศตะวันตก เข้ามาเช่าพื้นที่หลายแห่งทำให้ เซี่ยงไฮ้กลายเป็นเมืองท่าการค้านานาชาติที่สำคัญ อีกทั้งอาคารและสถาปัตยกรรมต่างๆ ของนครเซี่ยงไฮ้ได้รับอิทธิพลจากรูปแบบตะวันตก และมีลวดลายสวยงามตามแบบยุโรป จนได้รับการขนานนามว่าเป็น “นครปารีสแห่งตะวันออก” ในปัจจุบัน

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

เขตปกครองตนเองทิเบต

เขตปกครองตนเองทิเบตตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีน เขตการปกครองตนเองทิเบตตั้งอยู่บนที่ราบสูงชิงไห่-ทิเบต ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวได้รับการขนานนามว่าเป็น “หลังคาโลก” เขตปกครองตนเองทิเบตมีภูมิอากาศที่หลากหลายและได้รับการขนานนามว่า "เมืองที่ไม่มีฤดูกาล แต่ฤดูกาลทั้งสี่จะเกิดขึ้นได้ในวันเดียว”

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

มณฑลเจียงซี

มีเนื้อที่ทั้งหมด 166,947 ตร.กม. มีทะเลสาบผอ-หยาง (鄱阳湖) เป็นจุดศูนย์รวมทางระบบนิเวศวิทยาแหล่งใหญ่ที่สุดของมณฑล ที่สำคัญยังเป็นแหล่งแร่ทองแดงที่ใหญ่สุดในเอเชีย รวมทั้งเป็นแหล่งหลอมแร่ทองแดงที่ใหญ่สุดในประเทศ

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

มณฑลฝูเจี้ยน

มณฑลฝูเจี้ยน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศจีน ตรงข้ามเกาะไต้หวัน มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 23 ของประเทศ ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา มณฑลฝูเจี้ยนได้ก้าวสู่การเป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีกุญแจสำคัญอยู่ที่ไต้หวัน ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากมณฑลฝูเจี้ยนเพียง 125-160 กม.

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

มณฑลหูเป่ย

มณฑลหูเป่ยมีชื่อย่อว่า เอ้อ(鄂) ตั้งอยู่ในภาคกลางของประเทศจีน มีทรัพยากรแร่ธาตุอุดมสมบูรณ์ มีการค้นพบทรัพยากรธรรมชาติถึง 136 ชนิด มีประชากรทั้งหมด 59.88 ล้านคน

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

มณฑลหูหนาน

มณฑลหูหนาน (Hunan) หรือที่เรียกกันว่า “เซียง” (Xiang) ตั้งอยู่ทางตอนกลางของภาคใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีปริมาณน้ำจืดมากเป็นอันดับ 2 ของจีน เนื่องจากมีทะเลสาบต้งถิง (Dongting Lake) ซึ่งเป็นทะเลสาบน้ำจืดที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของจีน ซึ่งเป็นที่มาของชื่อมณฑล “หูหนาน” ที่แปลว่า “ทิศใต้ของทะเลสาบ” และได้สมญานามว่าเป็น “แหล่งผลิตข้าวและปลาน้ำจืดรายใหญ่ของจีน”

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

มณฑลกวางตุ้ง

มณฑลกวางตุ้งหรือมณฑลกว่างตง (广东省) มีชื่อย่อว่า เยี่ยว์ (粤, Yue) ตั้งอยู่ทางแนวชายฝั่งทะเลตอนใต้ของจีน มีพื้นที่ 179,812.7 ตร.กม. มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 15 ของประเทศจีน ในปี 2555 มีประชากร 105.94 ล้านคน เป็นมณฑลที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 1 ของประเทศจีน

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

เขตบริหารพิเศษฮ่องกง

อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีน ประกอบด้วยเกาะฮ่องกง คาบสมุทรเกาลูน และดินแดนที่เรียกว่า New Territories (ซึ่งเป็นส่วนที่ติดกับชายแดนจีน) รวมถึงเกาะเล็ก ๆ อีก 235 เกาะ โดยเกาะที่ใหญ่ที่สุด คือ เกาะลันเตา

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

เขตบริหารพิเศษมาเก๊า

ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งทางตะวันออกของจีน และอยู่ทางตะวันตกของพื้นที่สามเหลี่ยมปากแม่น้ำเพิร์ล (PRD) โดยมีพรมแดนติดกับมณฑลกวางตุ้ง มาเก๊ามีพื้นที่ 29.9 ตารางกิโลเมตร

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

มณฑลไห่หนาน

มณฑลไห่หนานหรือมณฑลไหหลำ (海南省) ตั้งอยู่ทางตอนใต้สุดของจีนล้อมรอบด้วยทะเลจีนใต้ เดิมเคยเป็นส่วนหนึ่งของมณฑลกวางตุ้ง ซึ่งต่อมาได้ยกระดับขึ้นเป็นมณฑลและประกาศเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษในปี 2531 และเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษของจีนที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่ที่สุด

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

เขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง

ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีน ใหญ่เป็นอันดับที่ 9 ของประเทศจีน (คิดเป็นสัดส่วน 2.5% ของทั้งประเทศ) เป็นแหล่งผลิตผลิตภัณฑ์ทางทะเลที่สำคัญแห่งหนึ่งของประเทศจีน นอกจากนี้ กว่างซียังเป็นแหล่งผลิตน้ำตาลที่สำคัญของจีน โดยมีผลผลิตประมาณ 1 ใน 3 ของทั้งประเทศ

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

มณฑลส่านซี

มณฑลซานซีตั้งอยู่ทางทิศเหนือของประเทศจีน มีพื้นที่ทั้งหมด156,579 ตร.กม. คิดเป็น 1.6 % ของพื้นที่ทั้งหมด มีภูมิประเทศที่หลากหลาย ประกอบด้วยภูเขา เนินเขา ที่ราบสูง และที่ราบลุ่มโดยมีพื้นที่ที่เป็นภูเขามากกว่า 80 % ของพื้นที่ทั้งหมด

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

มณฑลกุ้ยโจว

มณฑลกุ้ยโจวตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นมณฑลเขตชั้นในที่ไม่มีทางออกทะเล อยู่ที่ราบสูงหยูนกุ้ย (Yungui) ได้ชื่อว่า เป็นแหล่งไฟฟ้าพลังน้ำของประเทศ เนื่องจากแม่น้ำอู่เจียง (Wujiang) ไหลผ่านทั่วทั้งมณฑล

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

มหานครฉงชิ่ง

ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ มีพื้นที่ทั้งสิ้น 82,402 ตารางกิโลเมตร ลักษณะเป็นพื้นที่สูง ภูมิประเทศเป็นเนินเขาและภูเขาเป็นหลัก สำหรับที่ตั้งของมหานครฉงชิ่ง จัดเป็นบริเวณสำคัญสำหรับรัฐบาลจีนในการดำเนินแผนการ “Great West Development”

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน

ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศจีน มีพื้นที่ทั้งหมด 1,183,000 ตารางกิโลเมตร โดยคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 12.3 ของพื้นที่รวมทั้งประเทศ ตั้งอยู่ห่างจากมหาสมุทร พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงกว้างใหญ่

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

เขตปกครองตนเองหนิงเซี่ยหุย

ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของจีน ตอนบนของแม่น้ำฮวงโห พื้นที่ของเขตฯ หนิงเซี่ยหุยมีลักษณะแคบและยาว มีขนาดพื้นที่ 66,400 ตารางกิโลเมตร มีแสงแดดเฉลี่ยต่อปี 3,000 ชั่วโมง ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งในพื้นที่ที่ได้รับแสงอาทิตย์มากที่สุดในประเทศจีน และมีพายุทรายมาก จึงสามารถนำพลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานลมมาใช้ในอุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้า

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

มณฑลกานซู

ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศจีน มีพื้นที่ประมาณ 454,000 ตารางกิโลเมตร สถิติจากสำนักงานสำรวจประชากรมณฑลกานซู ปี 2560 มณฑลกานซูมีประชากรรวม 26.09 ล้านคน แบ่งเป็นชนชาติฮั่น ร้อยละ 90.6 และชนกลุ่มน้อยอื่นๆ ร้อยละ 9.4

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

มณฑลเสฉวน

ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของจีน มีพื้นที่ทั้งสิ้น 485,000 ตารางกิโลเมตร เป็นหนึ่งในพื้นที่เกษตรกรรมที่สำคัญของจีนในด้านตะวันตกของมณฑล ซึ่งเป็นที่สูงมีลักษณะอากาศเป็นแบบที่ราบสูง (plateau climate) ความชื้นและปริมาณน้ำฝนต่ำ อากาศเย็นในฤดูหนาว

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

มณฑลยูนนาน

มณฑลยูนนาน หรือที่คนจีนเรียกสั้น ๆ ว่า “เตียน” (Dian) ซึ่งเป็นชื่อของทะเสสาบในนครคุนหมิง ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของจีน เป็นมณฑลเขตชั้นในที่ไม่มีทางออกทะเล

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

มณฑลชิงไห่

มณฑลชิงไห่ หรือมีความหมายเป็นภาษาไทยว่า "ทะเลสีเขียว" เป็นชื่อที่ตั้งขึ้นตามชื่อทะเลสาบน้ำเค็มฉาร์ฮั่น (Qarhan) ซึ่งเป็นทะเลสาบน้ำเค็มที่ใหญ่ที่สุดในประเทศจีนและใหญ่ที่สุดในโลก ภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นภูเขาและหุบเขา มีที่ราบแอ่งกะทะอยู่ตอนกลางของมณฑลคือ ที่ราบแอ่งกะทะไฉต๋ามู่ (Qaidamu)

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

เขตปกครองตนเองซินเจียง

เขตการปกครองตนเองชนชาติอุยกูร์ซินเจียงตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศจีน เป็นเขตที่มีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ วัฒนธรรมท้องถิ่นของซินเจียงยังมีภาษาและวรรณคดีของชาวอุยเกอร์ ที่เป็นภาษาที่ยังคงใช้อยู่จนถึงทุกวันนี้ ซึ่งภาษาท้องถิ่นนี้ยังปรากฏในบทกวี ดนตรีและการเต้นรำของชนชาติดังกล่าวในปัจจุบัน

ดูข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อมูลรายมณฑล

มณฑลเจ้อเจียง

ตั้งอยู่ทางชายฝั่งทะเลทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีนและทางใต้ของสามเหลี่ยมแม่น้ำฉางเจียง มีพื้นที่ทั้งหมด 101,800 ตารางกิโลเมตร มณฑลเจ้อเจียงมีชายฝั่งทะเลที่ยาวที่สุดในประเทศ 6,486 กิโลเมตร และเป็นมณฑลที่มีเกาะมากที่สุดในประเทศ มีพื้นที่สามารถเพาะพันธุ์สัตว์ทะเลน้ำตื้นได้กว่า 400 ตารางกิโลเมตร

ดูข้อมูลเพิ่มเติม
Shandong Taiwan HEILONGJIANG JILIN LIAONING TIANJIN BEIJING HEBEI SHANXI HENAN JIANGSU ANHUI SHANGHAI TIBET JIANGXI FUJIAN HUBEI HUNAN GUANGDONG Hong Kong Special Administrative Region Macao Special Administrative Region HAINAN GUANGXI SHAANXI GUIZHOU MUNICIPALITY OF CHONGQING INNER-MONGOLIA NINGXIA GANSU SICHUAN YUNNAN QINGHAI XINJIANG ZHEJIANG

LINK

ลิงก์ที่เกี่ยวข้อง

BACK TO TOP

กลับขึ้นด้านบน